点击蓝字 关注沪江泰语君!
语言之间的交流经常能够通过互相拥有的借词体现出来,在泰语中就有很多随着华人迁移而来一同带来的词汇,这些词汇不仅丰富了泰语的词汇体系,而且对泰语的声调也产生了一定的影响。到底是怎么回事,我们一起来了解一下。
คำยืมภาษาจีน มีการนำมาใช้ทับศัพท์จนเป็นคำคุ้นเคยในชีวิตประจำวัน เช่น ยืมคำศัพท์ฮกเกี้ยน ได้แก่ ฮ่องเต้, ฮองเฮา, ก๊ก (แคว้น, ประเทศ) ฯลฯ ศัพท์แต้จิ๋ว ได้แก่ ก๋วยเตี๋ยว, กงสี, กังฉิน ฯลฯ ศัพท์กวางตุ้ง ได้แก่ ปักกิ่ง, ปาท่องโก๋, เย็นตาโฟ เป็นต้น
泰语在日常生活中借用中文词语已经成为习以为常的现象,例如借用福建话词汇,如“皇帝”、“皇后”、“国”等;借用潮州话词汇,如“粿条”、“公司”、“奸诈”等;借用广东话词汇,如“北京”、“油条”、“酿豆腐”等。
เหตุจากการยืม คำยืมภาษาจีน มาใช้นี้เอง ทำให้ไทยต้องคิดเครื่องหมายวรรณยุกต์ตรี ( ๊ ) และจัตวา ( ๋ ) ขึ้นเพื่อใช้เขียนคำยืมภาษาจีนเป็นหลัก ต่อมาจึงใช้เขียนคำยืมภาษาอื่นด้วย ส่วนคำไทยนั้นใช้กับคำเลียนเสียงธรรมชาติหรือเสียงอุทาน เช่น ฮ้า ฮื้อ
由于借用了中文词语,泰语也需要引入附加的声调符号 ( ๊ ) 和 ( ๋ ) ,用来书写借用的中文词语。后来,这种书写方式也被用于书写其他外来词汇。而泰语本身用于模仿自然声音或拟声词,例如“ฮ้า”、“ฮื้อ”。
แม้คำไทยจะมีวรรณยุกต์ 5 เสียง แต่ระบบอักษรกลาง สูง ต่ำ ทำให้เราใช้ไม้เอก ( ่ ) ไม้โท ( ้ ) ก็สามารถเขียนคำไทยได้ครบ 5 เสียง เช่น คา ข่า ค่า ค้า ขา, นา หน่า หน้า น้า หนา อักษรกลางเสียงตรีและจัตวาเป็นพยางค์ที่ไม่มีความหมาย เช่น ก๊า ก๋า ตี๊ ตี๋ ปู๊ ปู๋ แต่คำยืมภาษาจีนต้องใช้อักษรกลางไม้ตรีและจัตวามาก เช่น เกี๊ยะ (รองเท้าไม้) ก๋ง เก๋ง เจ๊ง ฉะนั้นอักษรพ่อขุนรามคำแหงจึงมีแต่รูปวรรณยุกต์เอก ( ่ ) และโท ( ้ ) แต่รูปจัตวา ( ๋ ) นี้ เมื่อเขียนเร็วหวัดติดเป็นเส้นเดียวกันค่อย ๆ กลายเป็นรูปโท ( ้ ) รูปจัตวา ( ๋ ) จึงใช้กำกับเสียงจัตวาอักษรกลาง
尽管泰语有5个声调,但是由于辅音的中、高、低声调系统,可以让我们使用声调符号( ่ )和( ้ )就能书写泰语所有的这5个声调。例如,“คา”、“ข่า”、“ค่า”、“ค้า”、“ขา”、“นา”、“หน่า”、“หน้า”、“น้า”、“หนา”。中辅音附加声调符号的声调 ( ๊ ) 和 ( ๋ )本身没有意义,例如“ก๊า”、“ก๋า”、“ตี๊”、“ตี๋”、“ปู๊”、“ปู๋”。然而,借用的中文词语需要使用音节 ( ๊ )和 ( ๋ )声调,例如เกี๊ยะ、“ก๋ง”、“เก๋ง”、“เจ๊ง”。因此,兰甘亨创造的字母中只有声调符号( ่ )和( ้ ) ,没有声调符号 ( ๋ ) 。但是当快速书写时,就变成了( ้ )和( ๋ ),用于标记中辅音声调。
สมเด็จฯ กรมพระยาดำราชานุภาพประทานคำอธิบายเรื่องไม้ตรี ( ๊ ) และจัตวา ( ๋ ) ไว้ในพระราชนิพนธ์เรื่องอธิบายวรรณยุกต์ นายบุญเตือน ศรีวรพจน์ นำลงพิมพ์ในวารสารศิลปากร ฉบับเดือนกันยายน-ตุลาคม 2544 ว่า
丹龙·拉差努帕亲王描述了( ๊ ) 和( ๋ ) 两个声调的使用,并由Boontuen Sriworapot刊登于期刊《艺术》(2001年9月-10月)版。
“ไม้ตรี ( ๊ ) กับไม้จัตวา (เอากากบาทไม้โทเดิมมาใช้) ( ๋ ) เมื่อครั้งสุโขทัยยังหามีไม่ แม้แต่มาถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาเมื่อก่อนรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราชก็ยังไม่มีข้อนี้รู้ได้ ด้วยในหนังสือจินดามณีตำราสอนหนังสือไทยที่พระโหราธิบดีแต่งในรัชกาลนั้น มีโคลงบอกวรรณยุกต์ไว้บทหนึ่งว่า
( ๊ )和 ( ๋ )在素可泰时期并不存在,在阿瑜陀耶那莱王时期前也不存在,在该时期编著的课本《Jindamanee》中有这样的记载:
สมุหเสมียนเรียนรอบรู้ วิสันช
พิณเอกพิณโททัณ ฑฆาตคู้
ฝนทองอีกฟองมัน นฤฆหิต นั้นนา
แปดสิ่งนี้ใครรู้ จึ่งให้เป็นเสมียน
大致含义:要成为文书会写字必须了解书写中
使用的 ะ ่ ้ ์ ็ " ๏ ํ 这8个符号
ถ้าไม้ตรีไม้จัตวามีอยู่ในสมัยเมื่อแต่งโคลงบทนี้ก็คงบอกไว้ในโคลงด้วยแต่โคลงบทนี้อาจมีผู้แต่งเพิ่มเข้าในหนังสือจินดามณีเมื่อภายหลัง ถ้าเช่นนั้นก็ยิ่งแสดงว่าไม้ตรีไม้จัตวามีช้าเข้ามาอีก ได้ให้ตรวจดูหนังสือลายมือเขียนในสมัยกรุงศรีอยุธยาอันมีอยู่ในหอสมุดสำหรับพระนครหลายเรื่องก็ไม่เห็นใช้ไม้ตรีหรือไม้จัตวา
在创作这首诗时,如果( ๊ ) 和( ๋ )存在,诗中应该有相关记载。然而,可能是后来的作者在《Jindamanee》中加入了这些符号。这更加显示了( ๊ ) 和( ๋ )的逐渐普及。可以从阿瑜陀耶时期在图书馆中保存的大城市手稿发现,并未发现使用( ๊ ) 和( ๋ )的例证。
มาพบหนังสือที่มีไม้จัตวาในบทละครเขียนครั้งกรุงธนบุรี และที่มีทั้งไม้ตรีและไม้จัตวามมาพบในหนังสือกฎหมายฉบับหลวงที่ประทับตราสามดวงเขียนในรัชกาลที่ 1 กรุงรัตนโกสินทร์เป็นเก่าแก่ที่สุดนี่ว่าด้วยเอาลายมือเขียนเป็นหลักพิสูจน์
在吞武里王朝的剧本中找到使用( ๋ )的书籍,以及在拉玛一世的律法书中找到同时使用( ๊ ) 和( ๋ )的书籍。这些书籍是最古老的,作为手写记录的主要证据。
แต่ยังมีหลักอย่างอื่นปรากฎอยู่ในกฎหมาย ‘ศักดินาพลเรือน’ (ฉบับพิมพ์) ตอนทำเนียบพวกสำเภาในกรมท่ามีชื่อเรียกตามภาษาจีนและผันด้วยไม่ตรีไม้จัตวาหลายชื่อ เช่น จุ้นจู๊ นายสำเภา และปั๋นจู๊ พนักงานซ่อมแปลงสำเภา เป็นต้น ส่อให้เห็นว่าไม้ตรีไม้จัตวาเกิดขึ้นแต่ก่อนสมัยกรุงธนบุรี น่าจะมีเมื่อตอนปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา คิดขึ้นสำหรับเขียนคำภาษาจีนเป็นมูลเหตุ”
然而,在印刷版的法律规定《萨克迪纳国民》中,还存在其他证据。其中涉及皇家海军航海船只的部分有称呼是按中文发音来的,好些都用了声调符号( ๊ ) 和( ๋ )表示,例如"จุ้นจู๊"、"นายสำเภา"和"ปั๋นจู๊"用来指代船只修理和改装的工人,等等。这表明( ๊ ) 和( ๋ )早在吞武里时期就存在,可能在阿瑜陀耶王朝时代末期开始用于书写汉字。
ปัจจุบันนี้ ถึงเราจะลองตัดไม้ตรีไม้จัตวาออกก็สามารถเขียนคำไทยที่จำเป็นต้องใช้ได้โดยไม่มีปัญหา จึงเชื่อได้ว่าไม้ตรีไม้จัตวาเกิดจากอิทธิพลภาษาจีนอย่างแน่นอน
现在,就算我们现在可以去除( ๊ ) 和( ๋ ),仍然可以正常书写所需的泰语,没有任何问题。因此,可以肯定地说,( ๊ ) 和( ๋ )的出现受到了中文语言的影响。
大家能想到哪些泰语词汇用了这两个声调符号吗?
声明:本文由沪江泰语编译整理,素材来自silpa-mag,未经允许不得转载。如有不妥,敬请指正。
往期推荐
了解更多泰语课程福利
点个在看你最好看